LTLH ทางออกของกาแฟไทย
The Basic Concept of LTLH
รวบรวมความรู้พื้นฐานของการทำ LTLH Drying
พร้อมภาพประกอบฉบับเข้าใจง่าย
เขียนโดย Arkhom Suvannakita | ROASTMASTER, Preda Roasting House
Yeast x Dry Process LTLH คือ การนำยีสต์ที่คัดเลือกสายพันธุ์ (Strain) มาใช้หมักผลกาแฟทั้งผลเชอรี่ในถังหมักที่สะอาด ภายใต้อุณภูมิที่ควบคุม
ในการแปรรูปกาแฟนั้นมีหลายขั้นตอนหลายกระบวนการที่แตกต่างกัน เกษตรกรอาจจะเลือกทำ Process ไปตามเป้าหมายด้านรสชาติและข้อจำกัดในการแปรรูป
เชอร์รี่สีแดงระเรื่อหลายกระสอบถูกเก็บอย่างระมัดระวัง เพื่อส่งตรงมายังโรงคั่วปรีดา และแน่นอน ห้อง LTLH ถูกปัดฝุ่นขึ้นอีกครั้ง !
พวกเราพร้อม
ด้วยความอนุเคราะห์จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย โดยคุณกฤษณ์ เหลืองโสภาพันธ์ เราจึงได้เห็นภาพขยายของ Green bean
หลังจากเก็บข้อมูลมาได้จำนวนหนึ่ง...(ผมว่าปริมาณน่าจะมากพอให้เอาไปทำ thesis จบ ป.โท ได้อีกใบ) เราก็เริ่มหาเวลาเรียบเรียงข้อมูลเหล่านั้นออกมาเป็น
เมื่อทำการทดลอง LTLH มาสองเดือนจนได้ข้อสรุปบางอย่างแก่ตนเองแล้ว เราก็มั่นใจมากขึ้นที่จะนำเสนอข้อมูลเหล่านี้ให้แก่สังคม
จากตอนที่ 5 เราทำการตากแห้งกาแฟที่ทำใน process ต่างๆไปพร้อมๆกัน จนได้เชอรี่และกะลาที่แห้งในระดับ 10-11% (ไม่เกิน11.0%)
การวางแผนตากกาแฟในห้องควบคุมความชื้น LTLH นั้นเริ่มต้นจากต้องรู้ว่าเครื่องลดความชื้นของเราสามารถดึงน้ำออกจากห้องได้ในอัตรากี่ลิตร / ชม.
กราฟที่ผมนำมาแชร์ให้เพื่อนๆคือกราฟที่ได้จากการทดลองจริงของเรา โดยค่าความชื้นช่วงท้ายตั้งแต่ 20%เป็นต้นไปเป็นค่าที่วัดจากเครื่องวัดความชื้น
เราจัดกาแฟทั้งแบบ กะลาเปียก เชอร์รี่ และแบบฮันนี่ ลงในตะกร้าพลาสติกตาห่างเพื่อให้ลมสามารถพัดผ่านได้สะดวกทั้งด้านบนและล่าง
เราสร้างห้องที่สามารถควบคุมอุณหภูมิ/ความชื้นโดยการดัดแปลงเครื่องปรับอากาศ
ปกติแล้วหากผิวของเมล็ดที่กำลังตากอยู่นั้นร้อนเกินไป (มากกว่า 40 C) ก็จะเริ่มเกิดปัญหาหลายอย่างตามมา
ช่วงนี้ผมอาจจะดูวุ่นวายเรื่องงานวิชาการอะไรมากหน่อยก็อย่าเพิ่งรำคาญใจกันนะครับ ที่โพสต์ลงไปนี่มันจำเป็นทั้งนั้น
ในห้วงเวลาที่การโปรเสสกาแฟไทยกำลังลำบากจากภาวะฝนผิดฤดู เราจะแก้ไขปัญหากันได้อย่างไร? LTLH คือคำตอบ
ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงมาตรฐานเทคนิคงานตาก LTLH ของปรีดา Ep.1 ในตอน"กลไกการตากแห้ง"
ตอนนี้จะมาต่อในตอน"เทคนิคงานตาก"