เมื่อ 2 ปีก่อน ปรีดานำเสนอ ‘สูตรดริปหลังโรงคั่ว’ เพื่อเป็นแนวทางในการดริปแบบง่ายแต่เวิร์คให้แก่ลูกค้าและลูกเพจผู้สนใจทั่วไป
ตอนที่แล้วเราคุยกันถึงภาพรวมของสูตรดริปบ้านปรีดาว่าใช้ได้ดีกับกาแฟทุกตัวของปรีดาและกาแฟที่ผ่านการคั่วแบบพัฒนาตัวมาดีแล้ว โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ good extraction
เมื่อตอนที่แล้ว สูตรดริปบ้านปรีดา ตอน 3 เราคุยกันเรื่องกลิ่นรสของกาแฟที่เราพอจะแยกได้ว่ามาจากปัญหาการคั่วหรือปัญหาจากความสะอาดของสารกาแฟ
เรามาจนถึงการดริปจริงจนได้
เมื่อมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นคือความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องแล้ว เราก็มาลงน้ำกันดีกว่า
พี่กี้ชอบกิน Drip on ice ตอนเที่ยงๆ ครับ ก็เลยได้ชงบ่อยๆ สมัยก่อนก็ใช้ tower ใส่น้ำแข็งแบบของ Hario แต่อยู่ไปๆบางทีก็ไม่มีเครื่องมืออยู่ใกล้ๆ
กาแฟ LTLH ของปรีดามีคาแรคเตอร์เฉพาะตรงที่ให้มีกลิ่นรสซับซ้อนสูง ที่หากรู้เทคนิคเพิ่มเติมเพียงเล็กน้อยนักชงก็สามารถจะได้ taste note ตรงกับที่ทีม cupper เขียนไว้หน้าซองได้
ปัญหามีอยู่ว่า กาแฟที่พ่อดื่มเนี่ยมักจะเป็นพวกคั่วเข้มคั่วกลาง ซึ่งชงด้วยเครื่องเอสเปรสโซหรือเครื่องชงออโต้ต่างๆ แต่ทีนี้ถ้าเกิดสายดริปอย่างเราจะจับเอากาแฟของพ่อมาชงด้วยวิธีถนัดบ้างล่ะ?
แจก 4 สูตรชง THE WINNER
สูตรชง Strawberry field ที่คัดเลือกมาแล้วจากนักดื่มที่ชงจริง
เจอปัญหาทำนองนี้กันบ่อย
เลยทำแนวแก้ง่ายๆไว้ให้คนชงกาแฟพิเศษของปรีดานะครับ
Bloom
เป็นปฏิกิริยาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมาอย่างรวดเร็วเมื่อน้ำสัมผัสกับกาแฟบด กาแฟจะพองตัวขึ้นมา
ทำไมกาแฟคั่วอ่อนที่ดีจึงควรบดง่าย?
มาเข้าใจคำว่า Development ของการคั่วกาแฟกัน
ชวนทุกคนมาทำ Drip on Ice ดริปเย็นๆ ราดบนน้ำแข็ง สดชื่น อร่อย ทานง่าย สไตล์ปรีดา เพื่อเพิ่มความฟินแบบเย็นๆ คลายร้อนกันซักหน่อย
คลิปนี้จะมาชวนคุยกันยาวๆ ตั้งแต่เรื่องการบด, การ Blooming จังหวะการเทน้ำ และหลักเกณฑ์ง่ายๆที่นักดริปมือใหม่ก็ใช้ตรวจสอบคุณภาพการสกัดเองได้ มาเรียนดริปไปเพลินๆกับกี้ Arkhom Suvannakita กันจ้า
งาน Drip ที่ปรีดา ถือเป็นงานแรกของทุวันเลย เพราะถ้า Roastmaster ไม่ได้ดื่มกาแฟ ก็จะไม่มีเรี่ยวแรงทำงาน (ฮา)
บางทีเราอาจจะต้องดริปกาแฟในปริมาณที่แตกต่างจากปกติก็ได้ ...แต่ก็อยากให้อร่อยเหมือนเดิม ควรมีเทคนิคยังไงดี
วิธีดริป Plum ให้ได้รสชาติครบ เปรี้ยว หวานหอม บ๊วย ด้วยการดริปง่ายๆแบบฉบับปรีดา